myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com รับทำใบเลื่อยวงเดือน http://tokaisawthailand.myreadyweb.com/article/topic-56592.html <span style="color:#000000;"><span style="font-family:arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size:16px;"><strong>บริษัทโทไคชอล ประเทศไทย รับสั่งทำใบเลื่อยวงเดือนทุกชนิด</strong></span><br /> <br /> <span style="font-size:16px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;รับผลิตใบเลื่อยวงเดือน หลากหลายรูปแบบและหลากหลายขนาด ลูกค้าสามารถกำหนดเองได้&nbsp; ใช้กระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง ทดสอบผลิตภัณฑ์ในทุกขั้นตอนการผลิต ใบเลื่อยวงเดือนสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและอื่นๆ<br /> <br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<strong>รับประกัน FLATNESS ที่ 0.03-0.05 ทุกแผ่น</strong></span><br /> <br /> <br /> Diameter&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; &nbsp; 40 - 710mm<br /> Thickness&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 0.5 - 7.5mm<br /> Number of teeth &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1 - 300P</span></span> Mon, 22 Jun 2020 09:30:00 +0700 ทังสเตนคาร์ไบด์ http://tokaisawthailand.myreadyweb.com/article/topic-66941.html <strong>ทังสเตนคาร์ไบด์</strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทังสเตนคาร์ไบด์ (อังกฤษ: tungsten carbide) มีสูตรเคมีคือ WC ในรูปพื้นฐานจะมีลักษณะเป็นผงสีเทาละเอียด มี 2 โครงสร้างคือ<strong>แบบหกเหลี่ยม</strong> (&alpha;-WC) และ<strong>แบบลูกบาศก์</strong> (&beta;-WC)<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทังสเตนคาร์ไบด์เตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างทังสเตนกับคาร์บอนที่อุณหภูมิ 1400&ndash;2000 &deg;C[3] หรือให้ความร้อนกับทังสเตนไตรออกไซด์และแกรไฟต์โดยตรงที่ 900 &deg;C หรือในแก๊สไฮโดรเจนที่ 670 &deg;C ตามด้วยการคาร์บิวไรเซชันในแก๊สอาร์กอนที่ 1000 &deg;C[4] หรือใช้วิธีการเคลือบด้วยไอเคมี เช่น <ul> <li>ทำปฏิกิริยาระหว่างทังสเตนเฮกซะคลอไรด์กับไฮโดรเจนและมีเทนที่อุณหภูมิ 670 &deg;C (1,238 &deg;F)</li> </ul> &nbsp;<strong>WCl</strong><strong>6 + H</strong><strong>2 + CH</strong><strong>4 </strong><strong>&rarr;</strong><strong> WC + </strong><strong>6 HCl</strong> <ul> <li>ทำปฏิกิริยาระหว่างทังสเตนเฮกซะฟลูออไรด์กับไฮโดรเจนและเมทานอลที่อุณหภูมิ 350 &deg;C (662 &deg;F)</li> </ul> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>WF</strong><strong>6 + 2 H</strong><strong>2 + CH</strong><strong>3OH </strong><strong>&rarr; WC + </strong><strong>6 HF + H</strong><strong>2O</strong><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทังสเตนคาร์ไบด์มีจุดหลอมเหลวที่ 2,870 &deg;C (5,200 &deg;F) และจุดเดือดที่ 6,000 &deg;C (10,830 &deg;F) มีความแข็งระดับ 9 ตามมาตราโมสและประมาณ 2600 ตามมาตราวิกเคอส์[5] ทังสเตนคาร์ไบด์มีความแข็งเกร็งมากกว่าเหล็กกล้าประมาณ 2 เท่า มีค่ามอดุลัสของยังประมาณ 530&ndash;700 GPa (77,000&ndash;102,000 ksi)[2][6][5][7] โมดูลัสของแรงบีบอัด 630&ndash;655 GPa และโมดูลัสของแรงเฉือน 274 GPa[8]<br /> &nbsp;<br /> <strong>ด้วยคุณสมบัติความแข็งและทนความร้อนสูง ทังสเตนคาร์ไบด์จึงใช้ทำเป็นเครื่องมือตัดหรือหัวเจาะ ใช้ทำกระสุนเจาะเกราะ เครื่องมือผ่าตัด อุปกรณ์กีฬา เครื่องประดับและอื่น ๆ</strong><br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> &nbsp;<br /> <strong>อ้างอิง</strong><br /> &nbsp; <ol> <li>Kurlov, p. 22</li> <li>Blau, Peter J. (2003). Wear of Materials. Elsevier. p. 1345. ISBN 978-0-08-044301-0.</li> <li>Pierson, Hugh O. (1992). Handbook of Chemical Vapor Deposition (CVD): Principles, Technology, and Applications. William Andrew Inc. ISBN 0-8155-1300-3.</li> <li>Zhong, Y.; Shaw, L. (2011). 'A study on the synthesis of nanostructured WC&ndash;10 wt% Co particles from WO3 , Co3O4 , and graphite'. Journal of Materials Science 46 (19): 6323&ndash;6331. Bibcode:2011JMatS..46.6323Z. doi:10.1007/s10853-010-4937-y.</li> <li>Groover, Mikell P. (2010). Fundamentals of Modern Manufacturing: Materials, Processes, and Systems. John Wiley &amp; Sons. p. 135. ISBN 978-0-470-46700-8.</li> <li>Kurlov, p. 3</li> <li>Cardarelli, Fran&ccedil;ois (2008). Materials Handbook: A Concise Desktop Reference. Springer Science &amp; Business Media. pp. 640&ndash;. ISBN 978-1-84628-669-8.</li> <li>Kurlov, pp. 30, 135</li> <li>Sprince, NL.; Chamberlin, RI.; Hales, CA.; Weber, AL.; Kazemi, H. (1984). 'Respiratory disease in tungsten carbide production workers'. Chest 86 (4): 549&ndash;557. PMID 6434250. doi:10.1378/chest.86.4.549.</li> <li>12th Report on Carcinogens'. National Toxicology Program. http://ntp.niehs.nih.gov/go/roc12. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-06-24.</li> </ol> Thu, 01 Aug 2019 10:22:00 +0700 ความรู้เกี่ยวกับเหล็ก http://tokaisawthailand.myreadyweb.com/article/topic-57130.html <span style="color:#000000;"><span class="style91 style29 style94 style1"><strong>ประเภทของเหล็กกล้า</strong></span></span> <p><br /> เหล็กกล้าเป็นเหล็กที่ถูกนำไปใช้ในงานต่างๆมากมาย ทั้งนี้เนื่องจากเหล็กกล้านั้น มีคุณสมบัติในการรับแรงต่างๆได้ดี เช่น แรงกระแทก (Impact Strength) แรงดึง (Tensile Strength) แรงอัด (Compressive Strength) และ&nbsp;แรงเฉือน (Shear Strength) ซึ่งธาตุผสมส่วนใหญ่จะเป็นทั้งโลหะและอโลหะ เช่น โมลิบดินั่ม ทังสเตน วาเนเดียม เป็นต้น โดยเหล้กกล้าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้<br /> <br /> <strong><span class="style93"><span class="style49 style55 style56 style57"><img alt="icon" height="9" src="http://www.lpnpm.co.th/th/images/icon/arrows.gif" width="9" /></span> <span style="color:#000000;"><span class="style2">เหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon steels) </span></span></span></strong><br /> <span class="style44">หมายถึง เหล็กกล้าที่มีส่วนผสมของธาตุคาร์บอนเป็นธาตุหลักที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อ<br /> คุณสมบัติทางกลของเหล็ก และยังมีธาตุอื่นผสมอยู่อีก ซึ่งแบ่งเหล็กกล้าคาร์บอนออก<br /> เป็น 3 ประเภท ดังนี้<br /> <br /> <span style="color:#000000;"><strong>1. เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel)</strong></span><br /> <br /> เป็นเหล็กที่มีปริมาณคาร์บอนไม่เกิน 0.25% นอกจากคาร์บอนแล้ว ยังมีธาตุอื่นผสม- อยู่ด้วย เช่น แมงกานีส ซิลิคอน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน แต่มีปริมาณน้อยเนื่องจาก หลงเหลือมาจากกระบวนการผลิต เหล็กประเภทนี้ถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรม และใน ชีวิตประจำวันไม่ต่ำกว่า 90% เนื่องจากขึ้นรูปง่าย เชื่อมง่าย และราคาไม่แพง โดยเฉพาะเหล็กแผ่นมีการนำมาใช้งานอย่างกว้างขวาง เช่น ตัวถังรถยนต์ ชิ้นส่วนยานยนต์ต่างๆ กระป๋องบรรจุอาหาร สังกะสีมุงหลังคา เครื่องใช้ในครัวเรือน และในสำนักงาน</span></p> <p class="style69"><span style="color:#000000;"><strong>2. เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง (Medium Carbon Steel) </strong></span><br /> <span class="style44"><span class="style79">เป็นเหล็กที่มีปริมาณ คาร์บอน 0.2-0.5% มีความแข็งแรงและความเค้นแรงดึงมากกว่า เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ แต่จะมีความเหนียวน้อยกว่า สามารถนำไปชุบแข็งได้ เหมาะกับ งานทำชิ้นส่วนเครื่องจักรกล รางรถไฟ เฟือง ก้านสูบ ท่อเหล็ก ไขควง เป็นต้น</span></span><br /> <br /> <strong>3. เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High Carbon Steel)</strong><br /> <span class="style79">เป็น เหล็กที่มีปริมาณคาร์บอน 0.5 - 1.5% มีความแข็งความแข็งแรงและความเค้น- แรงดึงสูง เมื่อชุบแข็งแล้วจะเปราะ เหมาะสำหรับงานที่ทนต่อการสึกหรอ ใช้ในการทำ เครื่องมือ สปริงแหนบ ลูกปืน เป็นต้น</span><br /> <br /> <span class="style95"><strong><span class="style49 style55 style56 style57"><img alt="icon" height="9" src="http://www.lpnpm.co.th/th/images/icon/arrows.gif" width="9" /></span></strong><span style="color:#000000;"> <strong class="style93 style2">เหล็กกล้าประสม (Alloys Steel) </strong> </span></span><br /> <span class="style79">หมายถึง เหล็กที่มีธาตุอื่นนอกจากคาร์บอน ผสมอยู่ในเหล็ก ธาตุบางชนิดที่ผสมอยู่ อาจมีปริมาณมากกว่าคาร์บอน คิดเป็นเปอร์เซนต์ โดยน้ำหนักในเหล็กก็ได้ธาตุที่ผสม ลงไปได้แก่ โมลิบดินั่ม แมงกานีส ซิลิคอน โครเมียม อลูมิเนียม นิกเกิล และวาเนเดียม เป็นต้นจุดประสงค์ที่ต้องเพิ่มธาตุต่างๆเข้าไปในเนื้อเหล็ก ก็เพื่อการทำให้คุณสมบัติของเหล็ก เปลี่ยนไปนั่นเองที่สำคัญก็คือ</span><br /> 1. เพิ่มความแข็ง<br /> 2. เพิ่มความแข็งแรงที่อุณหภูมิปกติและอุณหภูมิสูง<br /> 3. เพิ่มคุณสมบัติทางฟิสิกส์<br /> 4. เพิ่มความต้านทานการสึกหรอ<br /> 5. เพิ่มความต้านทานการกัดกร่อน<br /> 6. เพิ่มคุณสมบัติทางแม่เหล็ก<br /> 7. เพิ่มความเหนียวแน่นทนต่อแรงกระแทก</p> <p><span style="color:#000000;"><strong>เหล็กกล้าประสม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้</strong><br /> <strong class="style89">1. เหล็กกล้าประสมต่ำ ( Low Alloy Steels )</strong></span><br /> <span class="style44">เป็นเหล็กกล้าที่มีธาตุ ประสมรวมกันน้อยกว่า 8% ธาตุที่ผสมอยู่คือ โครเมี่ยม นิกเกิล โมลิบดินั่ม และแมงกานีส ปริมาณของธาตุที่ใช้ผสมแต่ละตัวจะไม่มากประมาณ 1 &ndash; 2% ผลจากการผสมทำให้เหล็กสามารถชุบแข็งได้ มีความแข็งแรงสูง เหมาะสำหรับใช้<br /> ในการทำชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เช่น เฟือง เพลาข้อเหวี่ยง จนบางครั้งมีชื่อว่าเหล็กกล้า เครื่องจักรกล (Machine Steelsเหล็กกล้ากลุ่มนี้จะต้องใช้งานในสภาพชุบแข็งและอบ<br /> ก่อนเสมอจึงจะมีค่าความแข็งแรงสูง</span></p> <p class="style52"><span class="style69"><span style="color:#000000;"><strong class="style89">2. เหล็กกล้าประสมสูง (High alloy steels)</strong></span><br /> <span class="style44">เหล็กกล้าประเภทนี้จะถูก ปรับปรุงคุณสมบัติ สำหรับการใช้งานเฉพาะอย่าง ซึ่งก็จะมี ธาตุประสมรวมกันมากกว่า 8% เช่น เหล็กกล้าทนความร้อน เหล็กกล้าทนการเสียดสี และเหล็กกล้าทนการกัดกร่อน</span></span><br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> ขอบคุณข้อมูล จาก LPN Plate<br /> http://www.lpnpm.co.th/th/knowledge.php</p> Wed, 17 Jun 2015 14:28:00 +0700